1.วิชาสังคมศึกษา แบ่งเป็น 5 สาระ ศาสนา ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ ภูมิศาสตร์ หน้าที่พลเมือง
2.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา พระพุทธศาสนา ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
3.องค์ประกอบศาสนาที่สำคัญในปัจจุบัน(คำถาม)
4.ข้อใดไม่ตรงกับคำสอนของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู(คำถาม)
5.พิธีกรรมประจำบ้าน 12 ประการ ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู(คำถาม)
6.”โอม”หมายถึงอะไรในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู(คำถาม)
7.การแบ่งชนชั้นตามระบบวรรณะในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ถือว่าเป็นการจำแนกด้านใด(คำถาม)
8.ชาวมุสลิมไม่เชื่อในเรื่องใด(คำถาม)
9.ชาวมุสลิมเชื่อว่าคัมภีร์อัลกุรอาน คืออะไร(คำถาม)
10.การถือศีลอดในศาสนาอิสลามมีจุดประสงค์หลักเพื่ออะไร(คำถาม)
11.การให้ทานแก่คนจนและช่วยเหลือผู้อื่นตามหลักปฎิบัติของศาสนาอิสลาม จัดอยู่ในข้อใด(คำถาม)
12.คำว่า “พระจิต”ในหลักศาสนาคริสต์มีความหมายอย่างไร(คำถาม)
13.สาระสำคัญของสนธิสัญญาบาวริ่ง
14.การเปลี่ยนแปลงอุปทาน
ศาสนา ศีลธรรม และจริยธรรม ตอน 2
1.อนุตรสัมมาโพธิญาณ 1.ปุพเพนิวาสานุสติญาณ 2 . จุตูปปาตญาณ 3. อาสวักขยญาณ
2.เทศนาที่สำคัญ 1.ปฐมเทศนา(ธรรมจักรกัปปวัตตนสูตร) 2.ปัจฉิมโอวาท(ความไม่ประมาณ) 3.โอวาทปา
ฎิโมกข์(ละเว้นความชั่ว ทำความดี ทำจิตใจให้บริสุทธิ์)
3.พระไตรปิฎก พระวินัยปิฎก(ว่าด้วยวินัยหรือศีล) พระสุตตันปิฎก(ว่าด้วยพระสูตรหรือเทศนาทั่วไป) พระอภิธรรม
ปิฎก(ว่าด้วยหลักธรรม วิชาการล้วนๆ)
4.อริยสัจ 4 ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค
5.อริยมรรคมีองค์ 8 รวมเป็นคำสอนย่อได้เป็น ไตรสิกขา ได้แก่ ศีล สมาธิ ปัญญา
6.หลักธรรมที่สอดคล้องกับเศรษฐกิจพอเพียง
7.ทิฏฐธัมมิกัตถะ 4 1.อุฏฐานสัมปทา 2.อารักขสัมปทา 3.กัลยาณมิตตตา 4.สมชีวิตา
8.สัปปุริสธรรม 7 ธรรมสำหรับคนดี
9.หลักธรรมใดที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงน้อยที่สุด(คำถาม)
10.พระพุทธเจ้าทรงบรรลุญาณใด ที่ทำให้ตรัสรู้อริยสัจ 4 (คำถาม)
11.วิธีการคิดแบบสามัญลักษณะคือการคิดแบบใด(คำถาม)
12.ไตรลักษณ์ ลักษณะสามัญ 3 ประการ 1. อนิจตา 2.ทุกขตา 3.อนัตตา
13.คำว่า “สังขาร” ในขันธ์ 5 หมายถึงข้อใด(คำถาม)
14.ความขยัน ประหยัด คบเพื่อนดี และเลี้ยงชีพตามกำลังทรัพย์ เป็นการปฎิบัติธรรมข้อใด(คำถาม)
15.ศาสนพิธีใดไม่มีการเจาะจงพระภิกษุผู้รับ(คำถาม)
16.วันใดคือวันพระธรรม(คำถาม)