ทำความเข้าใจ
1.วินัย = ข้อปฎิบัติ แบบแผน ข้อบังคับ
2.จรรยาบรรณ = ประมวลความประพฤติของผู้ประกอบวิชาชีพต่างๆ
3.จริยธรรม = ธรรมที่เป็นข้อปฎิบัติ
4.มาตรฐาน = หลักเกณฑ์ต่างๆ
5.ประมวล = รวบรวมเป็นเอกสาร

รวมความรู้การเกษตร จากครูชาวบ้าน
รวมความรู้การเกษตร การปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์ การดูแลรักษา ดิน น้ำ พืช สัตว์ เทคโนโลยีการเกษตร ตลาดสินค้าเกษตร
รวมความรู้การเกษตร จากครูชาวบ้าน
รวมความรู้การเกษตร การปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์ การดูแลรักษา ดิน น้ำ พืช สัตว์ เทคโนโลยีการเกษตร ตลาดสินค้าเกษตร
ทำความเข้าใจ
1.วินัย = ข้อปฎิบัติ แบบแผน ข้อบังคับ
2.จรรยาบรรณ = ประมวลความประพฤติของผู้ประกอบวิชาชีพต่างๆ
3.จริยธรรม = ธรรมที่เป็นข้อปฎิบัติ
4.มาตรฐาน = หลักเกณฑ์ต่างๆ
5.ประมวล = รวบรวมเป็นเอกสาร
พ.ร.บ.วิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง เกี่ยวกับ (พูดภาษาชาวบ้าน)คือการทะเลาะ กับ หลวง รัฐ
หรือการที่ประชาชนทะเลาะกับรัฐ จึงมีการออก พ.ร.บ.วิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง มาเพื่อ
กระบวนการก่อนที่ หลวงจะไปพิพาท กับ ประชาชน จะมีขั้นตอน หรือ บทบาทการเอาชนะอย่างไร
ตะลุยข้อสอบ พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน เรื่อง : สำนักนายกรัฐมนตรี
ทบทวน การแบ่งการปกครองประเทศไทย นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ เน้นในเรื่องบริหาร
สำนักนายก มีสถานะเป็นกระทรวง ไม่ใช่กรม แต่หน่วยงานที่อยู่ในสังกัดสำนักนายก มีสถานะ เป็นกรม
นายก มีบทบาท 1. เป็นผู้นำรัฐบาล(เช่น แถลงต่อรัฐสภา) 2. เป็นหัวหน้าของสำนักนายก(ดูแลราชการทั่วไป ของนายก และ
คณะรัฐมนตรี)
รัฐมนตรีว่าการ เป็นข้าราชการการเมือง
ปลัดกระทรวง เป็นข้าราชการประจำ มีหน้าที่ดูแล หน่วงงานต่างๆ ที่อยู่ภายใต้ กระทรวง คือ กรมต่างๆ
บุคลากรสำนักนายก
1. นายกรัฐมนตรี(เป็นข้าราชการการเมือง)
2. เลขาธิการนายก(เป็นข้าราชการการเมือง) แบ่งเป็น 2 ฝ่าย 1. ฝ่ายการเมือง(เป็นข้าราชการการเมือง) 2. ฝ่าย
บริหาร(เป็นข้าราชการประจำ)
3. ปลัดสำนักนายก(เป็นข้าราชการประจำ หรือ ข้าราชการพลเรือนสามัญ)
Reading เรียกได้เป็นอะไรที่ยากที่สุดใน ภาษาอังกฤษ ก.พ. เป็นตัวที่ปราบเซียนจริงๆเลยก็ว่าได้
แต่เราต้องรู้เทคนิคของมันก่อน มาดู 5 รูปแบบ แนวข้อสอบ Reading
แบบที่ 1 การหา คำ หรือ ประโยค อ้างอิง
แบบที่ 2 การหาวัตถุประสงค์ของผู้เขียน
แบบที่ 3 การอ่านประกาศ/โฆษณา
แบบที่ 4 การอ่านเนื้อหาของเรื่อง
แบบที่ 5 การตั้งขื่อเรื่อง
Structure หรือ แกรมม่า การทำข้อสอบเราไม่จำเป็นต้องแปล ถ้าเรารู้หลักการที่ถูกต้อง แค่
เราเช็คโครงสร้างหรือดูโครงสร้างให้ออกว่ามันเป็นเรื่องไหน เราอาจจะต้องฝึกทำข้อสอบอยู่บ่อยๆ
1. The government has recently ___ a number of ___
2. It is getting so dark, I ___ go home.
3. It’s so cloudy I think it’s ___ rain.
4. We are singinga song with children ___ they feel
familiar language.
5. Only ___ people can participate this meeting.
6. I wonder ___ I call you again tomorrow.
7. It is ___ 5 years since Helen started doing yoga.
8. If she___ me. I’m sure she will out.
9. My father stopped ___ when I was born.
10. This town ____ she grew up.
11. Surasak give me a book ___ birthday.
Vocabulary เป็นคำศัพท์ เราไม่สามารถคาดคะเนไว้เลยว่า ข้อสอบคำศัพท์จะออกมาแบบไหน
เราต้องท่องศัพท์และรู้ศัพท์ให้มากที่สุด
เราจะลองทำโจทย์ Vocabulary
1.)I get a new job now I ___ more money.
2.)What’s participating means?
3.)The worker well training,The ___ in case of fire
4.)Listening or relaxing can ___ stress.
5.)Can’t see anythingplease ___ the light.
Conversation หรือ บทสนทนา เป็นการติวที่เน้น จับประเด็น ต้องรู้โครงสร้างของข้อสอบ ว่าข้อสอบจะออกอย่างไร ไม่ใช่อ่านกันไปแบบไม่มีเป้า
หมาย เป้าหมายของข้อสอบ Conversation เช่น บริบท ศัพท์ที่แปลไม่ออก คำศัพท์ที่ใช้ให้เหมาะสมกับ บริบท หรือ บุคคล
เรามา จับตายวายร้าย Conversation 5 ข้อ จัดเต็ม
พบเทคนิคเดาศัพท์
ติววิธีจับผิดคำถามและตัวเลือกที่ใช่
ป้องกันการ “ตายน้ำตื้น” ในห้องสอบ
บทความสั้น เหมือนจะยากสุดแล้ว เพราะเวลาเราอ่าน เราอย่าไปอ่านบทความแบบรวดเดียวจบ ให้เราพยายามหา เหตุ และ ผล แล้วก็ ประเด็นหลัก หรือ ประเด็นย่อยที่ซ่อนอยู่ในบทความ
สอนทำโจทย์การเรียงประโยค โดยสังเกตุคำเชื่อมประโยคก่อน
การเรียงประโยคนั้น เราต้องเข้าใจหลักภาษา เราต้องวิเคราะห์ตรงนี้ให้ได้ก่อน ก่อนที่จะเราจะมาทำการ เรียงประโยค ซึ่งหลายๆคนพยายามไปท่องสูตร ต้องทำอย่างนั้นต้องทำอย่างนี้
แต่หลังๆ วงการ ก.พ. เริ่มเปลี่ยนแนวข้อสอบ สูตรลัด สูตรลับ ที่เราท่องๆกันมา ให้ใช้ไม่ได้ ซึ่งการที่เราจะประสบความสำเร็จ นั้น มันไม่มีสูตรลัด สูตรโกง อย่าไปหวังพึ่งอะไรแบบนั้น เราต้องเข้าใจหลักภาษา
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ พร้อมสูตรการแก้โจทย์ 10 ข้อ ตรรกศาสตร์ ก็ออกข้อสอบแนวเดิมๆ คืออาจจะถามแค่ว่า สอดคล้องหรือไม่สอดคล้อง ตรรกศาสตร์ เป็นเรื่องของการใช้เหตุใช้ผล แต่ก็ชวนงงได้เช่นกัน