ติวสอบ ก.พ. พ.ร.บ. มาตรฐานทางจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ


ติวสอบ ก.พ. : พ.ร.บ. มาตรฐานทางจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ

ทำความเข้าใจ
1.วินัย = ข้อปฎิบัติ แบบแผน ข้อบังคับ
2.จรรยาบรรณ = ประมวลความประพฤติของผู้ประกอบวิชาชีพต่างๆ
3.จริยธรรม = ธรรมที่เป็นข้อปฎิบัติ
4.มาตรฐาน = หลักเกณฑ์ต่างๆ
5.ประมวล = รวบรวมเป็นเอกสาร

พ.ร.บ. มาตรฐานทางจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ ออกมาเพื่อเป็นหลักเกณฑ์การสร้างจริยธรรมของข้าราชการ

จุดประสงค์การออก พ.ร.บ. มาตรฐานทางจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ คือ ให้หน่วยงานของรัฐ หน่วนงานราชการไปออกประมวลจริยธรรมของตัวเองตามแนวทางของ พ.ร.บ. ตัวนี้

พ.ร.บ. มาตรฐานทางจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ ใช้บังคับกับ เจ้าหน้าของรัฐในฝ่ายบริหาร

มาตรฐานการร่างประมวลทางจริยธรรม ประกอบด้วย สถาบัน,ซื่อสัตย์ ,ตัดสินใจ ,ส่วนรวม ,สัมฤทธิ์, เป็นธรรม ,ดำรงตน

ใครมีหน้าที่การบังคับใช้ พ.ร.บ. ฉบับนี้
1.องค์กรกลางบริหารงานบุคคล
2.ค.ร.ม. = การเมือง,สภากลาโหม = ทหาร, ส.ค.ร. = รัฐวิสาหกิจ, องค์การมหาชน = คณะกรรมการขององค์การนั้น
3.ก.ม.จ. = คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม

จะบอกว่า มันไม่สำคัญหรอกว่าเขาจะรายงานว่าอย่างไร สำคัญว่าทุกคนนั้น ณ วันนี้ อย่างรับราชการ อยากให้คิดว่างานของเรากินภาษีประชาชน เพราะฉะนั้น ใครจะรายงานเราหรือไม่รายงานเราไม่สำคัญ มันสำคัญถ้าเราเคารพในมาตรฐานทางจริยธรรมของตัวเอง ที่ทำงานและของวิชาชีพของคุณ อย่างน้อยคุณจะเคารพตัวเอง คุณจะภูมิใจในตัวเอง แล้วความภูมิใจในตัวเอง มันจะเป็นพลังทำให้คุณประสบความสำเร็จ แม้วันนี้จะยังไ่ม่ใช่วันที่คุณเป็นข้าราชการแล้วก็ตาม แต่คุณก็ต้องฝึกมาตรฐานทางจริยธรรมต่างๆ วันนี้ที่เหนื่อยกันกับการอ่านการเรียน มันเป็นการฝึกมาตรฐานจริยธรรมในตัวเองอยู่แล้ว เพื่อวันหนึ่งพอคุณคู่ควร คุณก็ได้รับในสิ่งที่คุณคู่ควร คนเราไม่ได้ทุกสิ่งที่เราต้องการหรอก คุณอาจจะได้บางข้อไม่ได้บางข้อ เราได้ในสิ่งที่เราต้องการไม่ครบทุกข้อ แต่เราจะได้ทุกสิ่งทุกอย่าง ที่เราคู่ควร “มนุษย์ได้ในสิ่งที่คู่ควรเท่านั้น”

สอนโดย : พี่แมง ป.

โหลดเอกสาร


อำนาจแห่งใจ(1) ตอน โรงเรียนที่ยิ่งใหญ่ในการพัฒนาตนเองของคนเรา


7 วิธีรับมือกับคนคิดลบรอบตัว


บทเรียนที่คล้ายกัน

แนวข้อสอบจริง อุปมา อุปไมย สอบ กพ ภาค ก
แนวข้อสอบจริง อุปมา อุปไมย สอบ กพ ภาค ก เรื่อง อุปมา อุปไมย ความรู้สึกของทุกคนจะรู้สึกว่ามันง่ายที่สุด เพราะมันไม่ต้องคำนวณ แต่จริงๆแล้ว มันไม่ง่ายอย่างที่คิด เพราะ การที่มันไม่ใช่การคำนวณ ...
แก้โจทย์ สดมภ์ – สอบ กพ ภาค ก.
แก้โจทย์ สดมภ์ - สอบ กพ ภาค ก. สดมภ์ เป็นหัวข้อที่หลายคน"เกลียด" แต่เราจำเป็นต้องเก็บคะแนนจากหัวข้อนี้ให้ได้ เพราะสดมภ์ยังเชื่อมโยงไปถึงเลขทั่วไป เป็นพื้นฐาน และยังเชื่อมโยงไปยัง กฎจำนวนจริง อสมการ และ ...
จับประเด็น Conversation – สอบ ก.พ. ภาค ก.
จับประเด็น Conversation - สอบ ก.พ. ภาค ก. Conversation หรือ บทสนทนา เป็นการติวที่เน้น จับประเด็น ต้องรู้โครงสร้างของข้อสอบ ว่าข้อสอบจะออกอย่างไร ไม่ใช่อ่านกันไปแบบไม่มีเป้า หมาย ...
สูตรการเรียงลำดับประโยคไม่ให้พลาด
สูตรการเรียงลำดับประโยคไม่ให้พลาด ลักษณะข้อสอบการเรียงประโยคใน ก.พ. จะมีอยู่ 2 ลักษณะ→ ให้เรียงลำดับ 1 2 3 4 → ถามลำดับของข้อความตัวอย่างข้อสอบการเรียงประโยค(1) หรืออาจเกิดข้อผิดพลาดในการทำข้อสอบ(2) ในการทำข้อสอบนั้นจะต้องอ่านคำสั่งให้ดีเสียก่อน(3) ทำไห้ไม่สามารถทำข้อสอบได้คะแนนมากเท่าที่ควร(4) เพราะถ้าอ่านคำสั่งไม่เข้าใจแล้วก็จะไม่สามารถทำข้อสอบได้สูตรการเรียงประโยคประโยคขึ้นต้น ...
ปูพื้นฐาน สดมภ์ แบบกระจ่าง
สดมภ์ 1 : ปูพื้นฐาน - สอบ ก.พ. ภาค ก. สดมภ์ 2 : โจทย์สมการที่ออกสอบบ่อย - สอบ ก.พ. ...